ระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้ มีพื้นที่ประมาณ 2,141,250 ไร่ มีพื้นที่ติดต่อทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดชุมพร ทางใต้ติดกับจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดพังงา ทางตะวันตกติดกับประเทศพม่าและทะเลอันดามัน



















จังหวัดระนอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา
จังหวัดระนอง
ตราประจำจังหวัดระนอง
ตราประจำจังหวัด
คอคอดกระ ภูเขาหญ้า กาหยูหวาน
ธารน้ำแร่ มุกแท้เมืองระนอง
ข้อมูลทั่วไป
อักษรไทย ระนอง
อักษรโรมัน Ranong
ผู้ว่าราชการ จตุพจน์ ปิยัมปุตระ
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2559)
ข้อมูลสถิติ
พื้นที่ 3,298.045 ตร.กม.[1]
(อันดับที่ 59)
ประชากร 190,399 คน[2] (พ.ศ. 2560)
(อันดับที่ 77)
ความหนาแน่น 57.72 คน/ตร.กม.
(อันดับที่ 72)
ISO 3166-2 TH-85
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ต้นไม้ อินทนิล
ดอกไม้ เอื้องเงินหลวง (โกมาซุม)
สัตว์น้ำ ปูเจ้าฟ้า
ศาลากลางจังหวัด
ที่ตั้ง ภายในศูนย์ราชการจังหวัดระนอง เลขที่ 999 หมู่ที่ 3 ถนนเพชรเกษม ตำบลบางริ้น อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง 85000
เว็บไซต์ จังหวัดระนอง
แผนที่
 
ประเทศมาเลเซียประเทศพม่าประเทศลาวประเทศเวียดนามประเทศกัมพูชาจังหวัดนราธิวาสจังหวัดยะลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดตรังจังหวัดพัทลุงจังหวัดกระบี่จังหวัดภูเก็ตจังหวัดพังงาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดระนองจังหวัดชุมพรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดราชบุรีจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรสาครกรุงเทพมหานครจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดชลบุรีจังหวัดระยองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราดจังหวัดสระแก้วจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครนายกจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนนทบุรีจังหวัดนครปฐมจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดอ่างทองจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสระบุรีจังหวัดลพบุรีจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดสุรินทร์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดชัยนาทจังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดยโสธรจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดมหาสารคามจังหวัดขอนแก่นจังหวัดชัยภูมิจังหวัดเพชรบูรณ์จังหวัดนครสวรรค์จังหวัดพิจิตรจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดตากจังหวัดมุกดาหารจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดเลยจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดหนองคายจังหวัดอุดรธานีจังหวัดบึงกาฬจังหวัดสกลนครจังหวัดนครพนมจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดสุโขทัยจังหวัดน่านจังหวัดพะเยาจังหวัดแพร่จังหวัดเชียงรายจังหวัดลำปางจังหวัดลำพูนจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดแม่ฮ่องสอนแผนที่ประเทศไทย จังหวัดระนองเน้นสีแดง
เกี่ยวกับภาพนี้

สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย
ระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้ มีพื้นที่ประมาณ 2,141,250 ไร่ มีพื้นที่ติดต่อทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดชุมพร ทางใต้ติดกับจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดพังงา ทางตะวันตกติดกับประเทศพม่าและทะเลอันดามัน มีลักษณะพื้นที่เรียวและแคบ มีความยาวถึง 169 กิโลเมตร และมีความแคบในบริเวณอำเภอกระบุรี เพียง 9 กิโลเมตร
ระนองเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ เดิมเป็นหัวเมืองขนาดเล็กขึ้นกับเมืองชุมพร คำว่าระนองเพี้ยนมาจากคำว่า แร่นอง เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดมีแร่อยู่มากมาย

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด[แก้]

ภูมิประเทศ[แก้]

สภาพภูมิประเทศของระนอง ประกอบด้วยภูเขาสูงในทางทิศตะวันออก และลาดลงสู่ทะเลอันดามันในทางทิศตะวันตก มีแม่น้ำและคลองสำคัญหลายสาย และมีภูเขาสูงสุดคือ ภูเขาพ่อตาโชงโดง
แม่น้ำลำคลองที่สำคัญมีดังนี้

ภูมิอากาศ[แก้]

จังหวัดระนองได้ชื่อว่าเป็นเมือง "ฝนแปด แดดสี่" นั่นคือมีฝนตก 8 เดือน และฝนแล้งเพียง 4 เดือน นับว่าเป็นจังหวัดที่ฝนตกชุกมากที่สุดในประเทศไทย เนื่องจากอยู่ติดกับทะเลอันดามัน ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้อย่างมาก

หน่วยการปกครอง[แก้]

การปกครองแบ่งออกเป็น 5 อำเภอ 30 ตำบล 167 หมู่บ้าน
  1. อำเภอเมืองระนอง
  2. อำเภอละอุ่น
  3. อำเภอกะเปอร์
  4. อำเภอกระบุรี
  5. อำเภอสุขสำราญ
 แผนที่

รายนามเจ้าเมืองและผู้ว่าราชการจังหวัด[แก้]

รายพระนามและรายนามผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง
พระนาม/ชื่อ เข้ารับตำแหน่ง สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง
1. หลวงระนอง (นายระนอง) สมัยรัชกาลที่ 2 พ.ศ. 2397
2. พระยารัตนเศรษฐี (คอซูเจียง ณ ระนอง) พ.ศ. 2397 พ.ศ. 2420
3. พระยารัตนเศรษฐี (คอซิมก๊อง ณ ระนอง) พ.ศ. 2420 พ.ศ. 2433
4. พระยารัตนเศรษฐี (คออยู่หงี่ ณ ระนอง) พ.ศ. 2433 พ.ศ. 2460
5. พระระนองบุรีศรีสมุทเขตต์ (คออยู่โง้ย) พ.ศ. 2460 พ.ศ. 2468
6. พระยาอมรศักดิ์ประสิทธิ์ (ทนง บุญนาค) พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2472
7. พระอมรฤทธิธำรง (พร้อม ณ ถลาง) พ.ศ. 2472 พ.ศ. 2476
8. พระบูรพทิศอาทร (คออยู่เพิ่ม ณ ระนอง) พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2482
9. นายพืชน์ เดชะคุปต์ พ.ศ. 2482 พ.ศ. 2484
10. นายถนอม วิบูลมงคล พ.ศ. 2484 พ.ศ. 2487
11. นายเนื่อง อ.ปาณิกบุตร 22 กันยายน 2487 19 มกราคม 2488
12. นายจันทร์ สมบูรณ์กุล 25 มกราคม 2488 20 ตุลาคม 2489
13. นายแสวง ทิมทอง 28 ตุลาคม 2489 23 พฤษภาคม 2492
14. นายคีรี ศรีรัฐนิยม 3 มิถุนายน 2492 12 ตุลาคม 2496
15. นายแสวง ชัยอาญา 2 ธันวาคม 2496 12 ตุลาคม 2497
16. นายวิเวก จันทโรจวงศ์ 12 ตุลาคม 2497 23 กันยายน 2501
17. นายพันธุ สายตระกูล 23 กันยายน 2501 20 เมษายน 2504
18. พ.ต.อ.บุญณรงค์ วัฑฌนายน 20 เมษายน 2504 30 กันยายน 2508
19. นายมนตรี จันทรปรรณิก 1 ตุลาคม 2508 30 เมษายน 2512
20. นายวงษ์ ช่อวิเชียร 1 พฤษภาคม 2512 30 กันยายน 2513
21. ร.ต.ท.ชาญ เวชเจริญ 1 ตุลาคม 2513 30 กันยายน 2518
22. นายจำลอง พลเดช 1 ตุลาคม 2518 9 พฤษภาคม 2520
23. นายปัญญา ฤกษ์อุไร 10 พฤษภาคม 2520 7 ตุลาคม 2521
24 นายไพฑูรย์ ลิมปิทีป 8 ตุลาคม 2521 2 กุมพาพันธ์ 2523
25. นายพร อุดมพงษ์ 3 กุมภาพันธ์ 2523 7 ตุลาคม 2525
26. นายสาคร เปลี่ยนอำไพ 8 ตุลาคม 2525 30 กันยายน 2528
27. นายอำพัน คล้ายชัง 1 ตุลาคม 2528 30 กันยายน 2530
28. พ.ต.เฉลิม สุภมร 1 ตุลาคม 2530 30 กันยายน 2533
29. ร.ต.สมพร กุลวานิช 1 ตุลาคม 2533 30 กันยายน 2534
30. นายจำนง เฉลิมฉัตร 1 ตุลาคม 2534 30 กันยายน 2537
31. นายสถิตย์ แสงศรี 1 ตุลาคม 2537 30 กันยายน 2538
32. นายศิระ ชวนะวิรัช 1 ตุลาคม 2538 30 กันยายน 2539
33. นายชัยจิตร รัฐขจร 1 ตุลาคม 2539 15 เมษายน 2541
34. นายสถิตย์ แสงศรี 16 เมษายน 2541 30 กันยายน 2541
35. นายทรงวุฒิ งามมีศรี 1 ตุลาคม 2541 30 กันยายน 2542
36. ร.ท.ธวัช หันตรา 1 ตุลาคม 2542 30 กันยายน 2544
37. นายนพพร จันทรถง 1 ตุลาคม 2544 30 กันยายน 2546
38. นายวินัย มงคลธารณ์ 1 ตุลาคม 2546 30 กันยายน 2548
39. นายเมฆินทร์ เมธาวิกูล 1 ตุลาคม 2548 12 พฤศจิกายน 2549
40. นางกาญจนาภา กี่หมัน 13 พฤศจิกายน 2549 30 กันยายน 2551
41. นายวันชาติ วงษ์ชัยชนะ 1 ตุลาคม 2551 25 พฤศจิกายน 2554
42. นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า 28 พฤศจิกายน 2554 7 ตุลาคม 2555
43. ว่าที่ร้อยตรี เชิดศักดิ์ จำปาเทศ 19 พฤศจิกายน 2555 30 กันยายน 2557
44. นายสุริยันต์ กาญจนศิลป์ 3 พฤศจิกายน 2557 30 กันยายน 2559
45. นายจตุพจน์ ปิยัมปุตระ 1 ตุลาคม 2559 ปัจจุบัน

อุทยาน[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. กระโดดขึ้น ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.
  2. กระโดดขึ้น กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/pk/pk_57.pdf 2560. สืบค้น 20 มีนาคม 2561.

ความคิดเห็น

  1. 協同組合員と貧しいタイ人のためのプロジェクトそしてすべての部門の年金受給者、そして一般の人々それは低層、8階建ての低層マンション、建設現場、77州すべてのプロジェクトの場所、プロジェクトあたり880ユニ โครงการ ซีเนียร์คอมเพล็กประชารัฐภาคเอกชน เพื่อสมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) โครงการเพื่อ สมาชิกสหกรณ์และประชาชนชาวไทยผู้ยากไร้ และข้าราชการบำนาญทุกหน่วยงานพร้อมด้วยประชาชนทั่วไป เป็นคอนโดมิเนียม แบบโลไลต แบบสูงไม่เกิน 8 ชั้นสถานที่ก่อสร้างที่ตั้งโครงการ ในทุก 77 จังหวัด จำนวน 880 unit ต่อโครงการ จำหน่ายราคาเริ่มต้น 5.5แสน ถึง 2.5 ล้าน จำนวนพื้นที่ ห้อง 30 ตารางเมตรถึง 60 ตารางเมตร เริ่มต้นและบริการฟรีให้กับผู้ด้อยโอกาสที่ขาดการดูแล อีก 20% สุทธิและ การบริการนิติบุคคล ประกอบด้วย ศูนย์รักษาสุขภาพ และ นันทนาการ 20 กิจกรรม ให้บริการสำหรับผู้สูงวัย ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เป็นจำนวนมาก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็นผู้ประกอบกิจการในจังหวัดนครปฐม และได้เล็งเห็นว่ารัฐบาลกำลังผลักดันและดำเนินโครงการประชารัฐด้านต่างๆเป็นจำนวนมาก บริษัทฯจึงมีความประสงค์ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเฉพาะด้านโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงวัย ลักษณะโครงการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นที่พักสำหรับผู้สูงอายุ Active เปิดบริการจำนวน 880 unit ส่วนที่ 2 เป็นที่พัก บริการผู้สูงอายุ เนอร์สซิ่งโฮม และศูนย์สุขภาพ ส่วนที่ 3 เป็น Compact จัดไว้ สำหรับผู้สูงอายุ Active สามารถรองรับ สมาชิกได้ถึง 1600 คน บริหารการจัดการโดย ดร.สมัย เหมมั่น ผู้ได้รับนโยบายจากกระทรวง พัฒนาสังคมฯกรมกิจการผู้สูงอายุ พร้อมคู่มือการบริการ ที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแบบมืออาชีพ ภาคเอกชนร่วมกัน เปิดโครงการก่อสร้างบ้านเพื่อผู้สูงวัย.หลังเกษียณ ของสมาชิกครูและข้าราชการบำนาญ แผนงานการก่อสร้าง แบ่งเป็น 5 ระยะ ระยะที่ 1 แผนงาน สร้างโมเดล โครงการ 7 จังหวัด ดังนี้ 1.จังหวัด ปทุมธานี จำนวน 880 หน่วย อำเภอ หนองเสือ จังหวัดปทุมธานี 2.จังหวัด เพชรบูรณ์ จำนวน 1200 หน่วย อำเภอ หล่มสัก-อำเภอหล่มเก่า-อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 3.จังหวัด นครราชสีมา จำนวน 880 หน่วย อำเภอ เมือง-อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 4.จังหวัด ชัยภูมิ จำนวน 880 หน่วย อำเภอเมือง จังหวัด ชัยภูมิ 5.จังหวัด ราชบุรี จำนวน 880 อำเภอจอมบึง-อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี 6.จังหวัด นนทบุรี จำนวน 1200 หน่วย อำเภอบางใหญ่-อำเภอไทรน้อย จังหวัด นนทบุรี 7.จังหวัด สระบุรี จำนวน 880 หน่วย อำเภอแก่งคอย-อำเภอหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี ระยะที่ 2 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 3 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคเหนือ ระยะที่ 4 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 18 จังหวัด ภาคกลาง ระยะที่ 5 แผนงาน สร้างเชิงรุก โครงการ 16 จังหวัด ภาคใต้ ดร. สมัย เหมมั่น เป็นผู้ประกอบกิจการในธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ โดยมีผลงานในการก่อสร้าง และพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์มากด้วยประสบการณ์ ดำเนินการพัฒนาโครงการเพื่อผู้สูงวัยพร้อมให้การบริการเป็นอย่างดีและทั่วถึงในการให้บริการ ดร.สมัย เหมมั่น ประธานโครงการ

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น